วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559
เรนจ์และโดเมนต์
ถ้าพิจารณาเฉพาะเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ใด ๆ จะได้โดเมน (domain) และเรนจ์ (range) ของความสัมพันธ์นั้นตามลำดับ
เช่น r1 = {(1,2),(2,3),(3,4),(4,5)}
r2={(x,y) I x I | y = x} อ่านเพิ่มเติม
1.1.2 โดเมนและเรนจ์
พิจารณาเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์เช่น
r = {(1,2),(2,4),(3,6),(4,8),(5,10)}
เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r คือ {1,2,3,4,5} เรียกเซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของความสัมพันธ์ r ว่า โดเมน ของ r เขียนแทนด้วย และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r คือ {2,4,6,8,10} เรียกเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ r ว่า เรนจ์ ของ r เขียนแทนด้วย
เขียนและในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขได้ดังนี้
ค่าสัมบูรณ์
ความหมายของค่าสัมบูรณ์
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง (absolute value หรือ modulus)
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง (absolute value หรือ modulus)
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนใด ๆ คือ ระยะทางที่จำนวนนั้นๆ อยู่ห่างจากศูนย์ (0) บนเส้นจำนวนไม่ว่าจะอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของศูนย์ ซึ่งค่าสัมบูรณ์ของจำนวนใด ๆ จะมีค่าเป็นบวกเสมอ
|
อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)